วันอังคารที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่   1             เรื่อง  ความน่าจะเป็น                                         เวลา    40       ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1    เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ                   เวลา      3       ชั่วโมง
………………………………………………………………………………………………………
1.  สาระสำคัญ
                ในชีวิตประจำวันเรามักจะพบปัญหาเกี่ยวกับการนับจำนวนวิธีทั้งหมดที่เหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเป็นไปได้  หรือจำนวนวิธีในการจัดชุดของสิ่งต่าง ๆ เช่น  การจัดการแข่งขันกีฬา  การจัดชุดเสื้อผ้า  การจัดชุดอาหาร  เป็นต้น  การคำนวณเพื่อหาคำตอบสำหรับปัญหาประเภทต่าง  ๆดังกล่าว  จะทำได้ง่ายและสะดวกรวดเร็วขึ้นถ้าเข้าใจกฎเกณฑ์บางข้อ  ซึ่งเรียกว่า  หลักมูลฐานเกี่ยวกับการนับ 

2.  มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่  5  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการ
คาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล
สาระที่ 6  ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1  มีความสามารถในการแก้ปัญหา

3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
    แก้โจทย์ปัญหาโดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและนำไปใช้ได้

4.  จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K) : นักเรียนสามารถ
1.             หาผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นของเหตุการณ์โดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ และ
แผนภาพต้นไม้อย่างง่ายได้
2.             นำความรู้เกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับไปแก้โจทย์ปัญหาได้
ด้านทักษะ / กระบวนการ (P) : นักเรียนมีความสามารถในด้าน
1.             มีความสามารถในการแก้ปัญหา    

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) : นักเรียน
1.        ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
2.        มีมารยาทในการปฏิบัติกิจกรรม

5.  สาระการเรียนรู้
    กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
กฎข้อที่ 1
ถ้าต้องการทำงานสองอย่างโดยงานอย่างแรกทำได้  วิธี  และในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานอย่างแรกนี้  มีวิธีจะทำงานอย่างที่สองได้ วิธี  จำนวนวิธีที่จะเลือกทำงานทั้งสองอย่างเท่ากับ   n1n2 วิธี
กฎข้อที่ 2
ถ้างานอย่างแรกมีวิธีทำได้  n1  วิธี ในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานอย่างแรก  มีวิธีที่จะทำงาน  อย่างที่สองได้  n2 วิธี และในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานอย่างแรกและงานอย่างที่สองมีวิธีที่จะทำงาน    อย่างที่สามได้  n3  วิธี ฯลฯ  จำนวนวิธีทั้งหมดที่จะเลือกทำงาน  k  อย่างเท่ากับ  n1 n2 n3… nk วิธี
กฎข้อที่ 3
ถ้าต้องการทำงานอย่างหนึ่งประกอบด้วยวิธีการทำงาน  k วิธี แต่ละวิธีของการทำงาน     ไม่เกิดซ้ำซ้อนกัน วิธีที่ 1 มีวิธีการทำงานได้  n1วิธี  วิธีที่ 2 มีวิธีการทำงานได้  n2 วิธี  วิธีที่ 3มีวิธีการทำงานได้  n3 วิธี  กรณีที่  k  มีวิธีการทำงานได้  nk วิธี  ดังนั้น  จำนวนวิธีที่จะทำงานนี้เท่ากับn1+n2+n3+…+nk   วิธี

6.  ภาระงาน
1.             ใบงานที่  1.1               เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (กฎข้อที่ 1)
2.             ใบงานที่  1.2               เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (กฎข้อที่ 2)
3.             ใบงานที่  1.3                เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (กฎข้อที่ 3)
4.             ใบงานเสริมทักษะ      เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ





7. กิจกรรมการเรียนรู้
คาบที่ 1
                ขั้นนำ
1.                 แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
2.                 ครูซักถามนักเรียนว่า เหรียญบาท 1 เหรียญ  มีกี่หน้า อะไรบ้าง  ลูกเต๋า 1 ลูก  มีกี่หน้า อะไรบ้าง  ไพ่ 1  สำรับ  มีกี่ใบ  อะไรบ้าง  แล้วให้นักเรียนตอบคำถาม  ครูอธิบายเพิ่มเติมประกอบความเข้าใจ
3.                 แจกเอกสารชุดการเรียนรู้ เรื่องความน่าจะเป็น  หน่วยที่  1  เรื่องกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
4.                 ให้นักเรียนศึกษาคำแนะนำการใช้ชุดการเรียนรู้  และคำชี้แจงการใช้ชุดการเรียนรู้
ขั้นสอน
1.         นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน  หน่วยที่  1  เรื่องกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับจำนวน  10  ข้อ  (ให้เวลาในการทำแบบทดสอบ  15 นาที)
2.         นักเรียนตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อเป็นการประเมินความรู้ก่อนเรียน
3.                 นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่  1 ตัวอย่างที่  2  ในใบความรู้ที่ 1.1  ครูช่วยชี้แนะและให้คำปรึกษาขณะนักเรียนศึกษาใบความรู้
4.             ให้นักเรียนออกมาทำตัวอย่างเสริมประกอบความเข้าใจหน้าชั้นเรียน  อธิบายโดยใช้แผนภาพต้นไม้ และซักถามความเข้าใจ และให้ทำงานหน้าที่ 9  ของชุดการเรียนรู้นี้
5.             ให้นักเรียนทำใบงานที่ 1.1  เรื่องกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ โดยครูช่วยแนะนำและให้คำปรึกษา
6.             นักเรียนตรวจคำตอบด้วยตนเองหรือแลกตรวจกับเพื่อน  ตามเฉลยของใบงานที่ 1.1              (ถ้าคะแนนที่ได้ต่ำกว่า  50%  ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาใหม่อีกครั้ง)  โดยครูให้คำปรึกษา  และสอนเสริมให้เข้าใจ  หรือให้นักเรียนที่ผ่านสอนนักเรียนที่ไม่ผ่าน
7.             ให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่  1   ตัวอย่างที่  2   และตัวอย่างที่  3  ในใบความรู้ที่ 1.2  ตามลำดับขั้นตอน  ครูช่วยชี้แนะและให้คำปรึกษาขณะนักเรียนศึกษาใบความรู้
8.                 ครูยกตัวอย่างเสริมความเข้าใจและให้นักเรียนหาคำตอบตามที่โจทย์กำหนด ครูสังเกตความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนและให้ทำใบงานที่  1.2  ครูสังเกตเรื่องการให้ความร่วมมือของนักเรียนในการทำกิจกรรม
9.                 นักเรียนตรวจคำตอบด้วยตนเองหรือแลกตรวจกับเพื่อน  ตามเฉลยของใบงานที่ 1.2              (ถ้าคะแนนที่ได้ต่ำกว่า  50%  ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาใหม่อีกครั้ง)  โดยครูให้คำปรึกษา  และ    สอนเสริมให้เข้าใจหรือให้นักเรียนที่สอบผ่านสอนนักเรียนที่สอบไม่ผ่าน
ขั้นสรุป
นักเรียนและครูช่วยกันสรุปแผนภาพต้นไม้ กฎข้อที่ 1 และ กฎข้อที่ 2 ของกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ

      คาบที่ 2
                ขั้นนำ
นักเรียนและครูสนทนาและทบทวนเรื่อง กฎข้อที่ 1 และ กฎข้อที่ 2 ของกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
ขั้นสอน
1.                 ให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่  1   และตัวอย่างที่  2  ในใบความรู้ที่ 1.3  ตามลำดับขั้นตอน  ครูช่วยชี้แนะและให้คำปรึกษาขณะนักเรียนศึกษาใบความรู้  ครูสังเกตดูความรับผิดชอบของนักเรียนในการทำกิจกรรม
2.                 ให้นักเรียนออกมาทำตัวอย่างเสริมประกอบความเข้าใจหน้าชั้นเรียน  และให้ทำใบงานที่  1.3   
3.                 นักเรียนตรวจคำตอบด้วยตนเองหรือแลกตรวจกับเพื่อน  ตามเฉลยของใบงานที่ 1.3              (ถ้าคะแนนที่ได้ต่ำกว่า  50%  ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาใหม่อีกครั้ง)  โดยครูให้คำปรึกษา  และ    สอนเสริมให้เข้าใจหรือให้นักเรียนที่สอบผ่านสอนนักเรียนที่สอบไม่ผ่าน
4.             ให้นักเรียนทำใบงานเสริมทักษะ  เรื่องกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ 
5.             นักเรียนตรวจคำตอบด้วยตนเองหรือแลกตรวจกับเพื่อน ตามเฉลยของใบงาน         เสริมทักษะ  ( ถ้าคะแนนที่ได้ต่ำกว่า  50%  ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาใหม่อีกครั้ง)  โดยครูให้คำปรึกษา และสอนเสริมให้เข้าใจ หรือให้นักเรียนที่สอบผ่านสอนนักเรียนที่สอบไม่ผ่าน
6.             ครูตั้งโจทย์ปัญหาเรื่องกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและสุ่มให้นักเรียนออกมาแสดงวิธีการคิดหน้าชั้นเรียน  ครูสังเกตเรื่องการให้ความร่วมมือของนักเรียนในการทำกิจกรรม
ขั้นสรุป
นักเรียนและครูช่วยกันสรุปกฎข้อที่ 1 ข้อที่ 2 และข้อที่ 3 ของกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับ  การนับและการแก้โจทย์ปัญหา และบอกนักเรียนว่าสามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้จากห้องสมุดหรืออินเทอร์เน็ต
      คาบที่ 3
                ขั้นนำ
                      นักเรียนและครูสนทนาและทบทวนเรื่องกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ  โดยใช้วิธีการซักถาม พร้อมยกตัวอย่างเสริมประกอบความเข้าใจ
ขั้นสอน
1.             นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน  จำนวน  10  ข้อ  (ให้เวลาในการทำแบบทดสอบ 
15 นาที)
2.             นักเรียนตรวจคำตอบด้วยตนเองหรือแลกตรวจกับเพื่อน  ตามเฉลยของแบบทดสอบ              (ถ้าคะแนนที่ได้ต่ำกว่า  50%  ให้นักเรียนศึกษาชุดการเรียนรู้ใหม่อีกครั้ง)  โดยครูให้คำปรึกษา  และสอนเสริมให้เข้าใจ  หรือให้นักเรียนที่ผ่านสอนนักเรียนที่ไม่ผ่าน
3.             นักเรียนและครูร่วมอภิปรายโจทย์ปัญหากฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับประกอบความเข้าใจ
ขั้นสรุป
นักเรียนและครูช่วยกันสรุปกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา  และสรุปหลักการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับกฎเกณฑ์การนับ

8.  สื่อการเรียนรู้
1.             ชุดการเรียนรู้  เรื่อง  ความน่าจะเป็น  หน่วยที่  1  เรื่อง กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
1.1      แบบทดสอบก่อนเรียน  หน่วยที่  1  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
1.2      ใบความรู้ที่  1.1           เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (กฎข้อที่ 1)
1.3      ใบงานที่  1.1               เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (กฎข้อที่ 1)
1.4      ใบความรู้ที่  1.2          เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (กฎข้อที่ 2)
1.5      ใบงานที่  1.2               เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (กฎข้อที่ 2)
1.6      ใบความรู้ที่  1.3          เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (กฎข้อที่ 3)
1.7      ใบงานที่  1.3               เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (กฎข้อที่ 3)
1.8      ใบงานเสริมทักษะ      เรื่อง  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
1.9      แบบทดสอบหลังเรียน  หน่วยที่  1  กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
2.             ห้องสมุดโรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ
3.             ห้องคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตโรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ

9.   การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
      1  ผู้ประเมิน
                - ครู
      สิ่งที่ต้องการประเมิน
                - การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
-  การมีมารยาทในการปฏิบัติกิจกรรม
      3  วิธีการ
                - สังเกตการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
                - สังเกตการมีมารยาทในการปฏิบัติกิจกรรม
      4  เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
                - แบบสังเกตการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
                - แบบสังเกตการมีมารยาทในการปฏิบัติกิจกรรม
      5  เกณฑ์การประเมิน
                - ประเมินการให้ความร่วมมือ
                - ประเมินมารยาทในการปฏิบัติกิจกรรม
                - ประเมินความสามารถในการแก้ปัญหา
                               
ประเด็น
การประเมิน
ระดับคะแนน
4
3
2
1

การให้ความร่วมมือ
ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มที่

ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมแต่ไม่เต็มที่
ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมบ้างเป็นบางครั้ง
ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม






ประเด็น
การประเมิน
ระดับคะแนน
4
3
2
1



มารยาท
ในการปฏิบัติกิจกรรม
มีความตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรมดีมาก  ไม่รบกวนผู้อื่น  แสดงความสนใจและตั้งคำถาม  รวมทั้งแสดงความคิดเห็นด้วยท่าทีที่สุภาพ
มีความตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรมดี  ไม่รบกวนผู้อื่น  แสดงความสนใจและตั้งคำถาม  รวมทั้งแสดงความคิดเห็นด้วยท่าทีที่สุภาพ
มีความตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรมพอใช้  รบกวนผู้อื่นบ้างเป็นครั้ง  แสดงความสนใจแต่ไม่แสดงความคิดเห็น
ไม่มีความตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรม รบกวนผู้อื่นอยู่เสมอ  ไม่แสดงความสนใจและไม่แสดงความคิดเห็น

ระดับคุณภาพ
                คะแนน                 7-8  คะแนน        หมายถึง                                ดีมาก
                คะแนน                 5-6 คะแนน          หมายถึง                                ดี
                คะแนน                 3-4  คะแนน        หมายถึง                                พอใช้
                คะแนน                 1-2  คะแนน        หมายถึง                                ปรับปรุง


ประเด็น
การประเมิน
ระดับคะแนน
4
3
2
1

ความสามารถในการแก้ปัญหา
มีความตั้งใจในการแก้ปัญหาเมื่อยกตัวอย่างสถานการณ์ปัญหามาให้ ได้มากกว่า
ร้อยละ 80

มีความตั้งใจในการแก้ปัญหาเมื่อยกตัวอย่างสถานการณ์ปัญหามาให้ ได้
ร้อยละ 70-80

มีความตั้งใจในการแก้ปัญหาเมื่อยกตัวอย่างสถานการณ์ปัญหามาให้ ได้
ร้อยละ 50-70

มีความตั้งใจในการแก้ปัญหาเมื่อยกตัวอย่างสถานการณ์ปัญหามาให้
ได้ต่ำกว่า
ร้อยละ 50

ระดับคุณภาพ
                คะแนน                 มากกว่าร้อยละ 80              หมายถึง                                ดีมาก
                คะแนน                 ร้อยละ 70-80                       หมายถึง                                ดี
                คะแนน                 ร้อยละ 50-70                       หมายถึง                                พอใช้
                คะแนน                 ต่ำกว่าร้อยละ 50                  หมายถึง                                ปรับปรุง

10. กิจกรรมเสนอแนะ
                ให้นักเรียนทำกิจกรรมด้วยตนเองตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกิจกรรม          
                                               





















บันทึกหลังสอน
1.         บรรยากาศการเรียน
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2.          ปัญหาอุปสรรคระหว่างการสอน
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3.         การปรับปรุงแก้ไข
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

4.         ข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการจัดการเรียนการสอนครั้งต่อไป
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
ลงชื่อ                                           ผู้สอน
(นายสุรศักดิ์   แก้วทอง)
5.         บันทึกความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
        ลงชื่อ                                              
 (นายชาญ   ศรีมณีกาญจน์)
หัวหน้ากุล่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
6.         บันทึกความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
        ลงชื่อ                                             
(นายกมล  เฮงประเสริฐ)
ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

7.         บันทึกความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของผู้อำนวยการโรงเรียน
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
        ลงชื่อ                                             
 (นายสถาพร   อภิวังโสกุล)
ผู้อำนวยการโรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ
แบบประเมินด้านความรู้  จากแบบทดสอบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ค  43102  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่  1  แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1  เรื่องกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ

เลขที่
ชื่อ-สกุล
ข้อ

รวม
สรุปผล
การประเมิน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
10
ผ่าน
ไม่ผ่าน
1.                














2.                














3.                














4.                














5.                














6.                














7.                














8.                














9.                














10.          














11.          














12.          














13.          














14.          














15.          














16.          














17.          














18.          














19.          














20.          














21.          














22.          














23.          














24.          














เลขที่
ชื่อ-สกุล
ข้อ

รวม
สรุปผล
การประเมิน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
10
ผ่าน
ไม่ผ่าน
25.          














26.          














27.          














28.          














29.          














30.          














31.          














32.          














33.          














34.          














35.          














36.          














37.          














38.          














39.          














40.          














รวม













เฉลี่ยร้อยละ














                                                                                (ลงชื่อ)......................................................ผู้ประเมิน
                                                                                         (นายสุรศักดิ์   แก้วทอง)

เกณฑ์การประเมิน              ทำได้ถูกต้อง  8-10  ข้อ                     อยู่ในระดับ ดี (3)                     
                                        ทำได้ถูกต้อง  5-7  ข้อ                       อยู่ในระดับ พอใช้ (2)                                 
                                        ทำได้ถูกต้องน้อยกว่า  5  ข้อ            อยู่ในระดับ ต้องปรับปรุง
                                                                                                                (กลับไปศึกษาชุดการเรียนรู้อีกครั้ง)